องค์ประกอบ ของ กลุ่มนิวเคลียส pulvinar

โดยทั่ว ๆ ไป pulvinar แบ่งออกเป็น ส่วนหน้า (anterior) ส่วนล่าง (inferior) ส่วนข้าง (lateral) และส่วนใน (medial) แต่ละส่วนมีนิวเคลียสหลายกลุ่ม

  • pulvinar ส่วนข้างและส่วนล่างมีการเชื่อมต่ออย่างหนาแน่นกับเขตประมวลผลต้น ๆ ของคอร์เทกซ์สายตา
  • pulvinar ส่วนข้างด้านหลัง (dorsal) มีการเชื่อมต่อหลัก ๆ กับสมองกลีบข้างด้านหลัง และทางสัญญาณด้านหลัง (dorsal stream) ซึ่งเป็นวิถีประสาทเกี่ยวกับการกำหนดตำแหน่งวัตถุที่เห็นทางตา
  • นอกจากนั้นแล้ว pulvinar ยังรับสัญญาณเข้าจาก superior colliculus[2] ไปที่ส่วนล่าง ส่วนข้าง และส่วนใน ซึ่งปรากฏว่าสำคัญในการเริ่มและการปรับเปลี่ยนการเคลื่อนไหวตาแบบ saccade[3][4][5] และทั้งในการควบคุมความใส่ใจทางตา (visual attention)[6][7]

ใกล้เคียง

แหล่งที่มา

WikiPedia: กลุ่มนิวเคลียส pulvinar http://www.unifr.ch/ifaa/Public/EntryPage/TA98%20T... http://www.unifr.ch/ifaa/Public/EntryPage/TA98%20T... http://fme.biostr.washington.edu/FME/index.jsp?fma... http://braininfo.rprc.washington.edu/centraldirect... http://brainmaps.org/index.php?q=pulvinar http://www.neurolex.org/wiki/birnlex_824 https://meshb.nlm.nih.gov/record/ui?ui=D020649 https://ta2viewer.openanatomy.org/?id=5665 https://ta2viewer.openanatomy.org/?id=5698